สถิติด้านการค้าการลงทุนระหว่างไทยและเมียนมา

ภาพรวมการค้าระหว่างปี 2567

ในปี 2567 การค้าไทย-เมียนมามีมูลค่ารวม 2.5 แสนล้านบาท (ลดลงจากปีก่อน ร้อยละ1.5)  ซึ่งเป็นการส่งออกไปเมียนมา 146,261.96  ล้านบาทและการนำเข้า 106,967.31 ล้านบาท โดยไทยได้เปรียบดุลการค้า 39,294.65 ล้านบาท

Untitled design (9).png





trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 trade-investment-01 Untitled Document Untitled Document Untitled Document Untitled Document

การค้าระหว่างไทยกับเมียนมาในปี 2567

การค้าระหว่าง เมียนมา กับไทยประจำปี 2567 มีมูลค่า 2.5 แสนล้านบาท (ลดลง ร้อยละ1.5 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน) โดย เมียนมา ส่งออกสินค้าไปไทยมูลค่า 1.06 แสนล้านบาท (ขยายตัวร้อยละ 1.69 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน) และนำเข้าสินค้าจากไทยมูลค่า 1.46แสนล้านบาท (หดตัวร้อยละ 3.72 เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน) 
ทั้งนี้ เมียนมา ขาดดุลการค้ากับไทยเป็นมูลค่า 39,294.65 ล้านบาท โดย เมียนมา เป็นคู่ค้าอันดับที่ 20 ของไทย (อันดับที่ 8 ในสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองจาก มาเลเซีย เวียดนาม สิงคโปร์ อินโดนีเซีย กัมพูชา ฟิลิปปินส์ และ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว)

                                                                                                         มูลค่า: ล้านบาทฯ



ปี

ปริมาณการค้ารวม

ไทยส่งออก

ไทยนำเข้า

ดุลการค้า

มูลค่า

%D

มูลค่า

%D

มูลค่า

%D

2565

286,554.53

26.6

162,680.83

19.4

123,873.71

37.7

38,807.12

2566

257,102.43

-10.27

151,920.52

-6.61

105,181.91

-15

46,738.61

2567
(ม.ค - ธ.ค.)

253,229.28

-1.5

146,261.96

-3.72

106,967.31


1.69

39,294.65

ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

สินค้าส่งออก/สินค้านำเข้าหลักของไทยไปตลาดเมียนมา ปี 2567

5 อันดับแรกของสินค้าส่งออกของไทย ได้แก่ (1) น้ำมันสำเร็จรูป (2) เครื่องดื่ม (3) เคมีภัณฑ์ (4) เครื่องสำอาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รักษาผิว
(5) ผลิตภัณฑ์ข้าวสาลีและอาหารสำเร็จรูป 
การนำเข้าของไทยในปี 2567, 5 อันดับแรก ได้แก่ (1) ก๊าซธรรมชาติ (2) พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช (3) สินแร่โลหะ (4) เนื้อสัตว์สำหรับบริโภค (5) ผักและผลไม้ 

สินค้าส่งออกสำคัญของไทย

สินค้านำเข้าสำคัญของไทย

10 อันดับแรก ได้แก่

  • น้ำมันดีเซล
  • น้ำมันสาเร็จรูป 
  • น้ำตาลทราย 
  • เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ 
  • เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่องจักรกล  
  • เคมีภัณฑ์  
  • ผลิตภัณฑ์ข้าวสาลีและอาหารสาเร็จรูปอื่นๆ 
  • ผ้าผืน 
  •  เครื่องส้าอาง สบู่ ผลิตภัณฑ์รักษาผิว 
  • รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ 

10 อันดับแรก ได้แก่

  • ก๊าซธรรมชาติ 
  • เนื้อสัตว์สำหรับการบริโภค 
  • สินแร่โลหะอื่นๆ เศษโลหะ 
  • สัตว์มีชีวิตไม่ได้ท้าพันธุ์ 
  • พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช 
  • ไม้ซุงไม้แปรรูปและผลิตภัณฑ์ 
  • สัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ 
  •  สัตว์น้ำสด แช่เย็น แช่แข็ง แปรรูป 
  • ผัก ผลไม้และของปรุงแต่งจากผัก ผลไม้ 
  •  เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ 











ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร 

แหล่งอ้างอิง:

  • สถิติด้านการค้าการลงทุนระหว่างไทยกับเมียนมา  ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ สานักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงย่างกุ้ง         กรมศุลกากร กระทรวงพาณิชย์เมียนมา

http://www.dtn.go.th/images/320/TH%20Trade%20Rank/Trade%20Rank%20Jan-Nov%202017.pdf
http://www.dtn.go.th/files/60/ASIA/myanmar_2s_0859.pdf
http://www.ditp.go.th/contents_attach/169854/169854.pdf
http://www.dtn.go.th/files/60/ASIA/Myanmar_2s_0960.pdf

 

 

ด้านเศรษฐกิจ

ไทยกับเมียนมามีการติดต่อค้าขายและลงทุนระหว่างกันมานาน แม้ในช่วงเมียนมาถูกคว่ำบาตร ทางเศรษฐกิจจากประชาคมระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่ไทยนำเข้าสินค้าวัตถุและพลังงาน ขณะที่เมียนมานำเข้าสินค้าอุปโภคบริโภคจากไทย ทั้งนี้ การค้าส่วนใหญ่เป็นการค้าชายแดนและการค้านอกระบบ ซึ่งการจัดเก็บตัวเลขสถิติทำได้เฉพาะที่ผ่านช่องทางทางการเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันเมียนมาร์ได้เปิดประเทศและเริ่มนโยบายปฏิรูปที่เน้นระบบเศรษฐกิจการตลาดที่เปิดกว้าง ตลอดจนส่งเสริมการลงทุน จากต่างประเทศ จึงเป็นโอกาสสำคัญที่ไทย และเมียนมาสามารถเพิ่มพูนปฏิสัมพันธ์และความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัน ทั้งนี้ เมียนมาเป็นที่สนใจอย่างยิ่งของภาคเอกชนไทยโดยเมียนมาร์มีศักยภาพสูง ในฐานะเป็น

  1. ตลาดสำหรับสินค้าไทย
  2. แหล่งลงทุน
  3. แหล่งทรัพยากร เช่น พลังงาน ป่าไม้ แร่ธาตุ อัญมณี และประมง
  4. แหล่งท่องเที่ยวเสริมเชื่อมโยงกับไทย (สถิติการค้าการทุนระหว่างไทยกับเมียนมาปรากฏตามข้อ 2)
สถิติFDI สถิติFDI สถิติFDI สถิติFDI สถิติFDI สถิติFDI สถิติFDI สถิติFDI สถิติFDI สถิติFDI สถิติFDI สถิติFDI

ตัวเลขสถิติ

1.ปริมาณการลงทุนสะสมจากต่างประเทศ

1.1 ภาพรวม ในปี 2567 คณะกรรมการการลงทุนเมียนมา(Myanmar Investment Commission: MIC) ได้อนุมัติคำขอรับการส่งเสริมการลงทุนเป็นมูลค่า 235.709 ล้านดอลลาร์สหรัฐโดยมีรายละเอียด ดังนี้

Top Ten FDI Ranking (By Country) in Myanmar 2024 Fiscal Year  (as of 31/12/2024)

                               

                                                                             มูลค่า: ล้านบาทฯ

อันดับ

ประเทศ

มูลค่าการลงทูน(ล้านดอลลาร์สหรัฐ)

สัดส่วน (%)

1

สิงคโปร์

446.658

69.80

2

จีน

81.718

12.77

3

ไทย

46.155

7.21

4

อีนโดนีเซีย

20.892

3.26

5

ฮ่องกง

16.032

2.51

6

สาธารณรัฐเกาหล

8.135

1.27

7

อีนเดีย

7.088

1.11

8

รัสเซีย

3.359

0.52

9

มาร์แชลล์

2.683

0.42

10

จีน (ไทเป)

2.628

0.41

11

สหราชอาณาจักร

2.519

0.39

12

สหรัฐอาหรับเอมีเรตส์

1.02

0.16

13

เซเชลส์

0.588

0.05

14

ญี่ปุ่น

0.436

0.07

รวม

639.911

100



ข้อมูลจากเว็บไซต์ Directorate of Investment and Company Administration https://www.dica.gov.mm/resources/data-and-statistics/

1.2 มูลค่าการอนุมัติโครงการที่ขอรับการส่งเสริมการลงทุนสะสมตั้งแต่ปีงบประมาณ 2531/2532 จนถึงเดือน พ.ย. 2567 อยู่ที่ 95,621.380 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดย ประเทศที่เข้ามาลงทุนในเมียนมา สูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ สิงคโปร์ สปป.ลาว จีน ไทย ฮ่องกง และ สหราชอาณาจักร (เป็นการลงทุนจากดินแดนโพ้นทะเลของ สหราชอาณาจักร (British Overseas Territories)) ตามลำดับ โดยไทยมีมูลค่าการลงทุนรวม 11,678.673 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ร้อยละ 12.51 ของมูลค่าการอนุมัติโครงการที่ขอรับการส่งเสริมการลงทุนในเมียนมา ทั้งหมด) โดยมีโครงการที่ได้รับอนุมัติจำนวน 156 โครงการ สำหรับมูลค่าการลงทุนจากต่างประเทศ ของโครงการที่ยังดำเนินการอยู่จนถึงปีงบประมาณ. 2566/2567 (ณ เดือน พ.ย. 2567) อยู่ที่ 74,776.668 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดย ประเทศ ที่ยังคงลงทุนใน เมียนมา สูงสุด 5 อันดับแรก ได้แก่ สิงคโปร์ สปป.ลาว จีน ฮ่องกง สหราชอาณาจักร และไทย ตามลำดับ

************

1.3 สาขาอุตสาหกรรมที่นักลงทุนต่างชาติเข้ามาลงทุนใน มม. รว. เดือน เม.ย. - พ.ย. 2567 รายละเอียด ดังนี้ Top Ten FDI Ranking (By Sector) in Myanmar 2024 Fiscal Year  (as of 31/12/2024)

                                                                                                            มูลค่า: ล้านบาทฯ

อันดับ

ประเภทธุรกิจ

มูลค่า(ล้านดอลลาร์สหรัฐ)

สัดส่วน (%)

1

น้ำมันและก๊าซ

357.040

55.80

2

อุตสาหกรรมการผลิต

138.573

21.66

3

คมนาคมและการสื่อสาร

87.715

13.71

4

การบริการ

44.9

7.02

5

พลังงาน

8.501

1.33

6

ปศุสัตว์และประมง

2.657

0.42

7

การเกษตร

0.525

0.08

รวม

235.709

100


1.4 สาขาอุตสาหกรรมที่นักลงทุนจาก ตปท. ยังดำเนินการอยู่ 5 อันดับแรก (ยอดสะสมตั้งแต่ปี งปม. 2531/2532 จนถึงเดือน พ.ย. 2567) ได้แก่ พลังงานไฟฟ้า (ร้อยละ 28.04) น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ (ร้อยละ 20.08) อุตสาหกรรมการผลิต (ร้อยละ 15.47) คมนาคมและการสื่อสาร (ร้อยละ 15.32) และอสังหาริมทรัพย์ (ร้อยละ 7.22)

************