— หน้าแรก — สาระน่ารู้
สาระน่ารู้
-
มัณฑะเลย์กับโอกาสการขยายการค้าและการลงทุน
ภาคมัณฑะเลย์ ที่ตั้งของเมืองหลวงในอดีตอันรุ่งเรืองของเมียนมาห่างจากย่างกุ้งไปทางทิศเหนือ ๗๑๖ กิโลเมตร ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. ๑๘๕๗ โดยพระเจ้ามินดง ตั้งอยู่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำอิระวดี เมืองมัณฑะเลย์เป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญที่สร้างรายได้ให้เมียนมาอย่างมาก คนไทยจึงรู้จัก “มัณฑะเลย์” ในฐานะเมืองที่มีความเจริญรุ่งเรืองทางวัฒนธรรมและธรรมชาติสวยงาม แต่หากจะมองในเชิงการค้าและการลงทุน ภาคมัณฑะเลย์ถือเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ ศูนย์กลางการเชื่อมโยง (Connectivity) ระดับภูมิภาคและมีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นหนึ่งในเมืองอัจฉริยะอาเซียน (ASEAN Smart City) ด้วย มัณฑะเลย์ : ศูนย์กลางการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เมียนมาแบ่งการปกครองเป็น ๗ รัฐ และ ๗ ภาค รวมทั้งภาคมัณฑะเลย์ ตั้งอยู่บริเวณตอนกลางของประเทศ มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ ๒ ของเมียนมา (ประมาณร้อยละ ๑๕ ของการเจริญเติบโตของเมียนมา) รองจากกรุงย่างกุ้ง ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโพด ถั่วลิสง งา ฝ้าย ถั่วเมล็ดแห้ง ใบยาสูบ พริก และผัก -
The International Migrants Day 2019
On 18 December 2019, the International Migrants Day 2019 was held in Nay Pyi Taw and presided over by H.E. U Myint Swe, Vice President of Myanmar. This year’s event was the 8th edition of its kind which was under the theme “Migration and Social Cohesion”. H.E. U Thein Swe, Union Minister for Labour, Immigration and Population of Myanmar, Mr. Aiko Nakayam, International Organization for Migration (IOM) in Myanmar, Myanmar’s high-level officials, representatives from diplomatic corps and international organizations, NGOs, and other relevant agencies in Myanmar also attended this event. Vice President underscored Myanmar’s effort on global compact for safe, orderly and regular migration agreement in developing the protection for the migrant workers especially women and children workers. Additionally, he urged Myanmar officials to raise efforts on systematic arrangement to secure money transfer from Myanmar migrant workers which would contribute for the economic growth and social cohesion in Myanmar. He also urged the licensed overseas employment agencies in supporting safe, systematic and legal migration for work, while reducing illegal migration to other countries. -
รัฐฉานกับโอกาสการลงทุนด้านการเกษตรและการท่องเที่ยวของเมียนมา
หากคุณคุ้นชินกับภาพของชายที่พายเรือจับปลาด้วยเท้าข้างเดียวกลางทะเลสาบอินเล หากคุณได้กลิ่นหอมของกาแฟอาราบิก้าจากเมียนมาที่นับวันจะมีชื่อเสียงเพิ่มขึ้นในระดับนานาชาติ หากคุณได้ลิ้มรสอโวคาโด มันฝรั่งทอดรสไข่เค็ม และไวน์ขาว ซึ่งเป็นอีกผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นของเมียนมา หลายสิ่งที่ได้กล่าวมา สะท้อนถึงความอุดมสมบูรณ์ของผลผลิตทางการเกษตรและทัศนียภาพอันงดงามที่มีอยู่ในรัฐขนาดใหญ่ที่สุดของเมียนมาและมีประชากรมากเป็นอันดับ 4 ของประเทศ รัฐนั้นคือ รัฐฉาน รัฐฉานตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่สําคัญทางเศรษฐกิจของเมียนมา โดยมีพรมแดนติดกับจีน ลาว และไทย ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รัฐฉานเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด ถั่วเหลือง มันฝรั่ง อ้อย อโวคาโด ผัก ผักที่บริโภคในเมียนมากว่าร้อยละ ๖๐ มาจากรัฐฉาน) กาแฟ และชา ส่วนผลิตภัณฑ์จากปศุสัตว์ที่โดดเด่น ได้แก่ เนื้อวัว นมวัว เนื้อไก่ ไข่ไก่ และเนื้อหมู อย่างไรก็ตาม ข้อมูลของ กรมบริหารการลงทุนและบริษัท (Directorate of Investment and Company Administration-DICA) (สถานะล่าสุด ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๒) ระบุว่า ภาคเอกชนต่างชาติยังเข้าไปลงทุนด้านเกษตรกรรมในเมียนมาเพียง ร้อยละ ๐.๕ ของมูลค่าการลงทุนจากต่างประเทศทั้งหมด และการลงทุนด้านปศุสัตว์และการประมง อยู่ที่ร้อยละ ๐.๙๓ -
The Prime Gateway to Asia
-
European Union withdrawal of yellow card of IUU for Thailand
-
Update เศรษฐกิจเมียนมา ไตรมาสสุดท้ายของปี ๒๕๖๑
เมื่อวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ รัฐสภาเมียนมาเห็นชอบการจัดตั้งกระทรวงใหม่ คือ กระทรวงการลงทุนและความสัมพันธ์เศรษฐกิจระหว่างประเทศ (Ministry of Investment and Foreign Economic Relations) เป็นกระทรวงที่ ๒๕ ของเมียนมา เพื่อส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศที่รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยกระทรวงใหม่นี้ จะช่วยให้การลงทุนจากทั้งประเทศและต่างประเทศคล่องตัว มากขึ้น นอกจากนี้ รัฐบาลเมียนมาได้แต่งตั้งให้นายตอง ตุน ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการลงทุนฯ โดยก่อนหน้านี้ นายตอง ตุน ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาความมั่นคง รัฐมนตรีประจำสำนักรัฐบาล และประธานคณะกรรมการการลงทุนแห่งเมียนมา (Myanmar Investment Commission – MIC) -
Myanmar Economy in 2018
After the establishment of democratically elected government in April 2018, Myanmar’s economic forecast remains broadly positive. Many foreign investors expect a massive fast-growing economy and wish to enter into Myanmar’s untapped market. However, Myanmar has been tarnished by a series of conflict escalation in Rakhine State, northwestern Myanmar, which has had a negative impact on the country’s image, and reduced foreign investment, especially from European countries. Nevertheless, Myanmar’s GDP growth rate is expected to reach 7 percent in the 2018 – 2019 fiscal year, based on an increased inflow of foreign investment funds, and increased investment in infrastructure. -
Glass and Glassware Industry in Myanmar
Myanmar’s glass and glassware industry is expected to grow together with Myanmar’s extensive development in building and infrastructure. According to the United Nations COMTRADE, Myanmar’s imports of glass and glassware was US$ 68.3 million in 2015, US$ 130.4 million in 2016, and US$ 85.8 million in 2017. China was the top glass and glassware exporter to Myanmar in 2017, which accounted for 61 percent of total glass and glassware imports in Myanmar. The second was Thailand, accounting for 15 percent of glass imports, followed by Malaysia at 13 percent. The value of Myanmar’s construction sector is projected to reach US$ 13.5 billion in 2020. Therefore, many upcoming modern construction projects are expected to raise the demand for glass in Myanmar. -
Non-paper- 22 Nov 2018 - Summary of TBAM Morning Talk 15
ด้วยเมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน๒๕๖๑ สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงย่างกุ้ง ร่วมกับสมาคมนักธุรกิจไทยในเมียนมา(Thai Business Association of Myanmar – TBAM) จัด Morning Talk ครั้งที่ ๑๕ ในหัวข้อ “MyanmarEconomic Outlook 2019” ที่สถานเอกอัครราชทูตฯโดยนางสาวจณาสินธวานนท์ อัครราชทูตที่ปรึกษา ณ กรุงย่างกุ้ง กล่าวเปิดงานซึ่งมีสมาชิก TBAM/นักธุรกิจไทยกว่า ๘๐ คน เข้าร่วมงานดังกล่าว สรุปสาระสำคัญ ดังนี้ ๑. ภาพรวม งาน Morning Talk ครั้งที่ ๑๕ แบ่งการเสวนาเป็น ๒ ช่วง คือ (๑) มุมมองและนโยบายของสหรัฐฯ และสหภาพยุโรปต่อเมียนมา โดยมีนาย John Fleming หัวหน้าฝ่ายการพาณิชย์ และ นางสาวJennifer Peterson หัวหน้าฝ่ายเศรษฐกิจสถานทูตสหรัฐฯ ประจำเมียนมา รวมทั้งนาย Lorenzo Pascottoผู้จัดการโครงการด้านความร่วมมือของคณะผู้แทนสหภาพยุโรปประจำเมียนมา ร่วมเป็นวิทยากร และ (๒) มุมมองต่อเศรษฐกิจเมียนมาและข้อเสนอแนะจากนักธุรกิจไทยที่มีประสบการณ์ในเมียนมามากกว่า ๑๐ ปี โดยมีนายสรศักดิ์ กีรติโชคชัยกุล จากบริษัทSCG Myanmar นายชูชาติ เมฆตระการ จากบริษัทMyanmar Information Highway และนายทสทิศ รอดประเสริฐ จากธนาคารกรุงเทพ ร่วมเป็นวิทยากร -
Non-paper - 12 Nov 2018 - กรมกิจการผู้บริโภค กระทรวงพาณิชย์เมียนมา ออกกฎระเบียบใหม่ ให้สินค้านำเข้ามีภาษาเมียนมากำกับ
ศูนย์ข้อมูลธุรกิจไทยในเมียนมา ขอแจ้งให้ทราบว่า ๑. เมื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๑ คณะกรรมการกลางของเมียนมาเพื่อปกป้องผู้บริโภคได้ออกประกาศที่ ๑/๒๐๑๘ กำหนดให้สินค้าบางประเภทต้องมีป้ายภาษาเมียนมา เพื่อให้ข้อมูลและรักษาความปลอดภัยของผู้บริโภค โดยสามารถมีภาษาอื่นร่วมกับภาษาเมียนมาได้ ทั้งนี้ ป้ายภาษาเมียนมาจะต้องระบุ (๑) วิธีการใช้สินค้า (๒) วิธีเก็บรักษาสินค้า (๓) ข้อมูลตักเตือนเรื่องภูมิแพ้ และ/หรือตักเตือนเรื่องอื่นที่จะส่งผลกระทบต่อผู้บริโภค และ (๔) อาการข้างเคียง (หากมี) ทั้งนี้ กฎระเบียบดังกล่าวครอบคลุมป้ายบนสินค้า แต่ไม่ได้รวมถึงบรรจุภัณฑ์ในรูปแบบอื่น เช่น กล่องแสดงสินค้า (display box)
Copyright © 2014 Business Information Center All Rights Reserved.