— หน้าแรก — สาระน่ารู้
สาระน่ารู้
-
ไทยพร้อมแบ่งปันแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในอุตสาหกรรมบริการและธุรกิจแฟรนไซส์
เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๙ นายพิษณุ สุวรรณะชฎ เอกอัครราชทูต ณ กรุงย่างกุ้ง ได้เน้นความพร้อมของไทยในการทำงานร่วมกับธุรกิจเมียนมาและแบ่งปันแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศในอุตสาหกรรมบริการและแฟรนไชส์ในงาน(๑)HORECA Bizmatch Fair ครั้งที่ ๓ ที่โรงแรม Chatriumเพื่อส่งเสริมการจับคู่ธุรกิจในอุตสาหกรรมบริการด้านโรงแรม ภัตตาคาร และบริการการจัดเลี้ยงโดยมีบริษัทชั้นนำของไทยจำนวน ๒๐ บริษัทเข้าร่วมงาน และ (๒) Thailand Franchise Discovery ที่โรงแรม Novotel ซึ่งมี ๒๒ บริษัทแฟรนไชส์จากไทยในสาขาต่าง ๆ อาทิ อาหารและเครื่องดื่ม บริการและการศึกษาเข้าร่วม -
Update นโยบายด้านเศรษฐกิจและพัฒนาการในสาขาต่าง ๆ ณ วันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๕๙
ในช่วงการเปลี่ยนผ่านรัฐบาลของเมียนมาช่วงปลายเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน ๒๕๕๙ โดยเป็นช่วงสิ้นปีงบประมาณ ๒๕๕๘ และต้นปีงบประมาณ ๒๕๕๙ได้มีพัฒนาการที่สำคัญ และมีการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเศรษฐกิจเมียนมาที่น่าสนใจ ดังนี้ -
Thilawa SEZ Business Information January-April 2016
Background of Thilawa Why invest in Thilawa? Thilawa SEZ Listing on Yangon Stock Exchange Investors in Thilawa SEZ include 5 Thai Investors in Thilawa -
การลงทุนด้านพลังงานในเมียนมา
ในยุคที่โลกใช้พลังงานเพิ่มขึ้นและประชาคมระหว่างประเทศให้ความสำคัญกับการส่งเสริม ความมั่นคงด้านพลังงาน อาทิ การใช้พลังงานที่หลากหลาย เพื่อไม่ให้พึ่งพาแหล่งพลังงานแหล่งใดแหล่ง หนึ่งมากเกินไป การรณรงค์ให้ประหยัดพลังงาน และการใช้พลังงานทดแทน เป็นต้น มีหลายคนถามว่า ประเทศเมียนมา ซึ่งอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ มีความมั่นคงด้านพลังงานมากน้อยเพียงใด มากพอที่จะแบ่งปันพลังงานให้ประเทศเพื่อนบ้านอย่างไทยด้วยหรือไม่ และมีโอกาสลงทุนด้านพลังงาน มากน้อยเพียงใด -
ไทยพร้อมแบ่งปันประสบการณ์ด้านการส่งเสริมแบรนด์ท้องถิ่นกับเมียนมา
เมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๙ เอกอัครราชทูตพิษณุ สุวรรณะชฎ ได้กล่าวเปิดงานแสดงสินค้า “สุดยอดแบรนด์ไทย ๒๕๕๙ ย่างกุ้ง ก้าวสู่โลกาภิวัตน์” ที่ Myanmar Event Park ซึ่งจัดโดย กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ร่วมกับสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย และสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย และสะท้อนให้เห็นถึงความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชนไทยในการพัฒนาความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจกับเมียนมา -
Myanmar’s Health Sector: Market Potential for Diagnostic Imaging (DI) Device and In-Vitro Diagnostics (IVD) Sector
Myanmar’s emerging medical device market has seen growing opportunities in Diagnostics Imaging (DI) device and In-Vitro Diagnostics (IVD) sector. The market growth has been driven by the following factors: 1) increase in healthcare spending, 2) upgrading of healthcare facilities, and 3) growing demand for high quality diagnostics test resultsdue to high incidence rates of diseases caused by the lack of early detection and changes in lifestyle. -
สัมมนาที่สถานเอกอัครราชทูตส่งเสริมการลงทุนในเมียนมา
เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๕๙ สำนักงานผู้แทนธนาคารไทยพาณิชย์ที่ย่างกุ้งได้จัดสัมมนาเรื่อง FDI ในเมียนมาและประสบการณ์ของนักธุรกิจไทยในเมียนมา ที่สถานเอกอัรราชทูต ณ กรุงย่างกุ้ง โดยนายพิษณุ สุวรรณะชฎ เอกอัครราชทูต ณ กรุงย่างกุ้ง และนายณัฐวิณ พงษ์เภตรารัตน์ รองประธานสมาคมนักธุรกิจไทยในเมียนมา ได้บรรยายเรื่องพัฒนาการและประสบการณ์ในเมียนมาให้แก่ผู้บริหารการลงทุนอาวุโส ๒๐ คน จากบริษัทบริหารการลงทุนชั้นนำของไทย ซึ่งเยือนเมียนมา เพื่อสำรวจโอกาสการลงทุน -
Update on Investment in Myanmar’s Hotels and Tourism
Investment: The Ministry of Hotels and Tourism has permitted more than 1,900 companies to operate in the tourism sector, including 39 joint venture companies. The biggest investors in Myanmar’s tourism sector are as follows. -
Foreign Direct Investment Policy
Myanmar’s Foreign Direct Investment policy is a component of the overall restructuring and development policy of the Government. The main components of the policy are: Adoption of market-oriented system for the allocation of resources Encouragement of private investment and entrepreneurial activity Opening of the economy for foreign trade and investment -
พัฒนาการด้าน ICT
๑. สถานะด้าน ICT และ digital economy ของเมียนมา ๑.๑ นโยบายรัฐบาล รัฐบาลเมียนมาได้ดำเนินการปฏิรูปเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี ๒๕๕๔ จนถึงปัจจุบัน ซึ่งรวมถึงนโยบายการพัฒนา ICTและภาคโทรคมนาคมโดยรวมมีเป้าหมายหลัก ได้แก่ (๑) การเพิ่มระบบโทรคมนาคมในพื้นที่ หรือ “tele-density” (๒) การส่งเสริมให้สาธารณชนสามารถเข้าถึงบริการด้านโทรคมนาคมได้ทั่วประเทศ ในราคาที่เหมาะสม (๓) การให้ประชาชนและภาควิสาหกิจมีทางเลือกบริการโทรคมนาคม และบริษัทที่ให้บริการด้านโทรคมนาคม (๔) การพัฒนาระบบ ICT ท้องถิ่นให้เข้มแข็ง ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจในภาพรวม
Copyright © 2014 Business Information Center All Rights Reserved.